วันศุกร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

วันที่ 12 พฤษภาคม 2559

Diary Note No.15 


นี่คืองานชิ้นสุดท้ายของรายวิชานี้นั้นก็คือการสอบสอนค่ะ










ขอบคุณค่ะ









วันที่ 2 พฤษภาคม 2559

Diary Note No.14


               การจัดนิทรรศการการแสดงผลงานศิลปะ



                          ณ โรงเรียนอนุบาลสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


ภาพกิจกรรม
















การประเมินผลเพื่อน



นี่คืองานชิ้นรองสุดท้ายที่พวกเราทำเพื่อนๆทุกคนต่างช่วยกันจัดให้งานออกมาอย่างสวยงาม ทุกคนมีความสุขที่เห็นงานของทุกคนได้ขึ้นโชว์


วันที่ 21 เมษายน 2559

Diary Note No.13





Learning Content  (เนื้อหาการเรียนรู้)



เขียนแผนการสอน และจัดการสอนตามแผนเป็นกลุ่ม


แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นอนุบาลปีที่ 3 หน่วยสัตว์โลกน่ารัก











ช่วยเป็นนักเรียนให้เพื่อนค่ะ












ประโยชน์ที่ได้รับ




ได้ฝึกการเขียนแผนที่จำเป็นสำหรับการเป็นครูเป็นอย่างมาก




การประเมินผลเพื่อน



เพื่อนๆในกลุ่มของแต่ล่ะกลุ่มต่างช่วยกันระดมความคิดแผนของแต่ล่ะกลุ่มและช่วยกันออกมาเป็นเด็กๆให้เพื่อนๆทดลองสอน

การประเมินผลครู

อาจารย์คอยให้ความช่วยเหลือเรื่องแผนโดยการมีตัวอย่างมาให้ดูละช่วยแนะนำการสอนของแต่ละกลุ่มด้วยค่ะ

วันที่ 7 เมษายน 2559

Diary Note No.12



สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ จากแกนกระดาษทิสชู่   10 ชิ้น (งานคู่)















กิจกรรมที่จัดเป็นฐาน โดยแบ่งฐานตามวัสดุที่ใช้ มีทั้งหมด 4 ฐาน ดังนี้


ฐานที่ 1 ศิลปะจากมักกะโรนี (กลุ่มของดิฉันเอง)


1.สร้อยคอจากมักกะโรนี




งานหายจากวันจัดนิทรรศการค่ะ


2.กรอบรูปจากมักกะโรนี


                                          

3.ตกแต่งหน้าพิซซ่า





ฐานที่ 2 ศิลปะจากเมล็ดพืช


1.ปะติดภาพจากเมล็ดพืช






2.กำไลเมล็ดพืช

กำไรด้านบน



3.กรอบรูปเมล็ดพืช




ฐานที่ 3 โมบายจากวัสดุต่างๆ (งานกลุ่ม)




ฐานที่ 4 ศิลปะจากหลอด/ลูกโป่ง/นิตยสาร

1.โมบายแสนสวย




2.ลูกโป่งแห่งอารมณ์


ลูกโป่งหายค่ะ 




3.พับกระดาษจากนิตยสาร





สิ่งประดิษฐ์จากรายการสอนศิลป์




หมวกโจ๊กเกอร์










ประเมินเพื่อน


เพื่อนๆตั้งใจทำงานกันเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะงานเดี่ยวหรืองานกลุ่มทุกคนตั้งใจทำเป็นอย่างมาก



ประเมินอาจารย์


อาจารย์เตรียมวัสดุอุปกรณ์มาให้มีการนำสื่อใหม่ๆมาสอนทุกสัปดาห์

วันที่ 31 มีนาคม 2559

Diary Note No.11


1.พิมพ์ภาพจากพืชเป็นเรื่องราว



2.พิมพ์ภาพจากวัสดุที่หาง่ายในห้องเรียน




3.พิมพ์ภาพจากฟองน้ำ

งานหายค่ะ


4.พิมพ์ภาพจากการแกะสลัก


งานหายค่ะ


5.พิมพ์ภาพจากอวัยวะต่างๆในร่างกาย



6.ศิลปะจากใบไม้
7.ศิลปะแบบสื่อผสม








ประโยชน์ที่ได้รับ




ได้ฝึกความคิดในการทำผลงานว่าแต่ละชิ้นงานสามารถนำมาประยุกต์กันได้อย่างไร



การประเมินผลเพื่อน


เพื่อนๆมีความตั้งใจในการทำชิ้นงานเป็นอย่างมากโดยบางคนอาจจะทำงานออกมาได้เป็นอย่างดีบางคนอาจจะไม่ถนัดแต่ก็พยายามทำให้ออกมาให้ดีที่สุด


การประเมินผลครู


อาจารย์แต่งกายสุภาพเรียบร้อยคอยเดินดูและแนะนำวิธีการคิดหรือการทำชิ้นงานให้ออกมาสวยและดีค่ะ



วันที่ 24 มีนาคม 2559

Diary Note No.10





1.กิจกรรมปั้นดินน้ำมันเป็นเรื่องราวลงฟิวเจอร์บอร์ด2.กิจกรรมเปเปอร์มาเช่จากกระดาษทิชชู่


ขั้นตอนการทำ




คิสตี้คืองานหนูค่ะ




3.กิจกรรมทำแป้งโดว์






4.กิจกรรมปั้นดินน้ำมันลงแผ่นซีดี






ประโยชน์ที่ได้รับ

ได้ทำงานประดิษฐ์ใหม่ๆที่มีประโยชน์ต่อการสอนต่อไปในวันข้างหน้าค่ะ



การประเมินผลเพื่อน


เพื่อนๆตั้งใจทำงานที่อาจารย์มอบหมายกันเป็นอย่างมาก



การประเมินผลครู

อาจารย์คอยให้คำแนะนำที่มีประโยชน์ต่อการสร้างสรรค์ผลงานเป็นอย่างมาก

วันที่ 17 มีนาคม 2559

Diary Note No.9



กิจกรรมทำลูกชุบ


1.เตรียมอุปกรณ์และวัตถุดิบ
  • ถั่วเขียว 450 กรัม
  • น้ำตาลทราย 200 กรัม (สำหรับผสมถั่ว)
  • น้ำตาลทราย 1 ช้อนโต๊ะ (สำหรับทำน้ำวุ้น)
  • น้ำกะทิ 400 กรัม
  • วุ้นผง 3 ช้อนโต๊ะ
  • น้ำเปล่า 3 ถ้วยตวง (สำหรับทำน้ำวุ้น) 
  • สีผสมอาหาร  (อย่างน้อยแม่สี 3 สี : สีแดง, สีเหลืองและน้ำเงิน)
  • จานสีและพู่กัน
  • ไม้จิ้มฟัน  (สำหรับเสียบถั่วที่ปั้นแล้วเพื่อแต่งสีและจิ้มลงในน้ำวุ้น)
  • โฟม (สำหรับเสียบถั่วปั้นระหว่างทำ ถ้าวางบนพื้นจะเสียทรง)

2.วิธีทำ 

          1. นำถั่วเขียวเลาะเปลือกมาทำความสะอาด และแช่น้ำทิ้งไว้ประมาณ 2 ชั่วโมง จากนั้นจึงนำไปนึ่งให้สุก ใช้เวลาประมาณ 15 นาที)

          2. เมื่อถั่วเขียวสุกดีแล้ว ให้นำไปใส่ในเครื่องปั่นไฟฟ้า พร้อมกับน้ำตาลทรายและน้ำกะทิ ปั่นจนส่วนผสมทั้งหมดเข้ากันดี

          3. จากนั้นจึงเทส่วนผสมลงในกระทะทองเหลือง (หรือกระทะเคลือบเทฟลอนก็ได้)และตั้งบนไฟอ่อนๆ ค่อยๆกวนจนข้นและเหนียว (ใช้เวลาประมาณ 20 - 30 นาที) จึงปิดไฟ และทิ้งไว้ให้เย็น (ถั่วต้องแห้ง มิเช่นนั้นจะไม่สามารถนำไปปั้นได้) 
          4. ก่อนปั้นให้นวดส่วนผสมทั้งหมดอีกครั้งจนเข้ากันเป็นเนื้อเดียว จากนั้นจึงปั้นให้เป็นรูปทรงตามใจชอบ (ผัก, ผลไม้หรือสัตว์น่ารักๆ) เมื่อปั้นเสร็จให้เสียบไม้จิ้มฟันรอไว้ ควรปั้นส่วนผสมทั้งหมดให้เสร็จเรียบร้อยก่อน ถั่วที่ปั้นเสร็จแล้วควรห่อไว้ด้วยผ้าขาวบางชุบน้ำหมาดๆ

         5. ผสมสีผสมอาหารตามต้องการ แล้วจึงบรรจงแต่งสีลงบนถั่วปั้นให้เหมือนจริง หรือตามแต่ความชอบ

         6. ทำน้ำวุ้นโดยผสมน้ำเปล่า, ผงวุ้นและน้ำตาล ลงในหม้อ นำไปตั้งบนไฟร้อนปานกลาง หมั่นคนอย่างสม่ำเสมอ รอจนส่วนผสมเดือด ช้อนฟองที่ลอยหน้าออก จึงหรี่ไฟลง

         7. นำถั่วปั้นที่แต่งสีแล้วไปชุบในน้ำวุ้น ควรชุบประมาณ 2 - 3 ครั้ง ระหว่างชุบวุ้นต้องอุ่นน้ำวุ้นด้วยไฟอ่อนเพื่อไม่ให้วุ้นแข็ง ถ้าไม่พอก็ผสมน้ำวุ้นขึ้นใหม่ตามอัตราส่วนข้างต้น

         8. นำลูกชุบออกจากไม้ิจิ้มฟัน ตัดแต่งเศษวุ้นส่วนเกินออกด้วยกรรไกร จัดใส่จาน เสริฟเป็นของว่างในวันสบายๆได้ทันที



ภาพกิจกรรมระหว่างทำลูกชุบ









ประโยชน์ที่ได้รับ


ได้ฝึกความอดทนการมีสมาธิในการทำลูกชุบ และใบตองหนูก็เป็นคนเย็บเองยากมากเลยค่



การประเมินผลเพื่อน


เพื่อนๆแต่ละกลุ่มช่วยกันทำลูกชุบของแต่ละกลุ่มให้ออกมาเป็นอย่างดีและสวยงาม


การประเมินผลครู

คอยอำนวยความสะดวกด้านอุปกรณ์ให้กับนักศึกษาและยังมีการบอกเทคนิคดีๆในการทำลูกชุบให้นักศึกษาอีกด้วย